วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2567

การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักวิจัยในการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อขอทุนภายนอก : Global Research Empowerment: กลยุทธ์การพัฒนานักวิจัยสู่เวทีระดับโลก เรื่อง ขอทุนวิจัย

 การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักวิจัยในการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อขอทุนภายนอก : Global  Research Empowerment: กลยุทธ์การพัฒนานักวิจัยสู่เวทีระดับโลก เรื่อง ขอทุนวิจัย

อ่านบทความ

1 ความคิดเห็น:

  1. ข้าพเจ้าได้นำ Model การพัฒนาศักยภาพนักวิจัยเพื่อขอทุนวิจัยภายนอกทั้งในและต่างประเทศ ระหว่าง พ.ศ. 2564 ข้าพเจ้ายื่นข้อเสนอโครงการทุนนอกไป 2 แห่งคือ FF สวรส เเต่พลาดทุนทั้ง 2 เเหล่ง

    ต่อมา เมื่อข้าเจ้าได้นำ โมเดลนี้ไปใช้ในขั้นตอน
    Approach (A): คือได้ร่วมเป็น Co PI กับ research cluster ที่เป็นเครือข่ายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและใช้ AI Chat GPT วิเคราะห์เเนวโน้มของหัวข้อหรือประเด็นปัญหาที่ข้าพเจ้าสนใจ ผลคือ ทำให้การทบทวนวรรณกรรมเป็นระบบเป็นขั้นตอนเเละใช้ระยะเวลาไม่นานประหยัดเวลามากทำงานได้เร็วขึ้น

    Deployment (D): ในระหว่างที่พัฒนาโครงร่างวิจัย ททีมนักวิจัยจะสื่อสารกันว่าในโ๕รงการวิจัยนี้ต้องการบทความในประเทสและต่างประเทศกี่ฉบับใครเป็นคนรับผิดชอบ ทำให้นักวิจัยทราบเป้าหมายเเละวางแผนตนเองในการทำงานอย่างเป็นระบบ

    Learning (L):
    • ในทีมนักววิจัยไ้ด้ประเมินประสิทธิภาพของการทำงานตามโมเดลดังกล่าวและพบว่าเป็นโมเดลที่นำไปใช้ได้และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำโครงการวิจัยและการเขียนโครงการขอทุน ทำให้ปี 2567 ข้าพเจ้าและทีมยื่นขอทุน สวรส ปีงบ 2569 จำนวน 1 โครงการในวันที่ 18 เมษายน 2567

    4. Integration (I):
    • การทำข้อเสนอโครงการขอทุน สวรส ปี 2569 นี้ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ทบทวนวรรณกรรมในต่างประเทศ เขียนกรอบเเนวคิดและเป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลในเขตจังหวัดขอนแก่น 5 หน่วยงาน การทำงานร่วมกันกับ research cluster โครงการที่ 2 นี้ ได้มีทีมที่ร่วมมาใหม่อีก 4 คน จึงทำให้ได้เห็นมุมมองการทำงานร่วมกับคนอื่นเพิ่มมากขึ้นและนำมาเเลกเปลี่ยนการขอทุนภายนอกและกระตุ้นอาจารย์ในสาขาให้ขอทุน FF ภายใน 30 เมษายน 2567 ต่อค่ะ

    ตอบลบ