วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2567

การพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในการตีพิมพ์เผยแพร่นานาชาติ

 การพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในการตีพิมพ์เผยแพร่นานาชาติ

อ่านบทความ

1 ความคิดเห็น:

  1. จากการนำรูปแบบ ADLI โมเดลไปใช้ทำให้ข้าพเจ้าได้พัฒนาตนเองในการตีพิมพ์เผยแพร่นานาชาติ ดังนี้ ในขั้นตอน
    1. Approach (A):

    1) ได้ใช้ AI Chat GPT มาใช้ในกระบวนการออกแบบบทคัดย่อและเนื้อหาบทความวิจัยในเบื้องต้นหลังจากนั้นข้าพเจ้าได้ใช้ AI Quill Bot มาตรวจสอบเนื้อหาและการคัดลอกเพื่อลดปัญหาการคัดลอกงาน
    2) ข้าพเจ้าใช้การคัดเลือกงานวิจัยจาก Cluster สู่การ
    พัฒนาคุณภาพ Manuscript และการนําเสนอระดับนานาชาติ คือ คัดงานบางวัตถุประสงค์จากโครงการวิจัย สวรส.ซึ่งข้าพเจ้ารับผิดชอบในเขต จังหวัดขอนแก่นไปนำเสนอเเบบ E Poster ในการประชุม ICN ที่ประเทสเเคนนาดาปี 2023 และ ปี 2024 ข้าพเจ้าเเละเครื่อข่ายได้ตีพิมพ์การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบในวารสาร Scopus Q4

    Learning (L):
    • -ข้าพเจ้าเล้งเห็นว่าโมเดลนี้จะช่วยส่งเสริมศักยภาพในการเผยแพร่บทความวิจัยในต่างประเทศได้จึงเตรียมบทความภาษาไทยจำนวน 2 บทความเพื่อใช้ AI และให้ Coach ที่เป็นผู้ช่วยชาญใน Research cluster ของวิทยาลัยช่วยตรวจสอบบทความที่เเปลเป็นภาษาอังกฤษและให้ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นวิทยากรของวิทยาลัยเเนะนำก่อนเลือกวารสารเผยแพร่ คาดว่าปี 2567 มี 1 เรื่อง และ ปี 2568 มี 1 เรื่อง
    ค้นหาโอกาสพัฒนา
    • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร เช่น การถอดบทเรียนความสําเร็จของทีมวิจัยที่ได้รับ
    ทุนวิจัยภายนอกทั้งในและต่างประเทศ หรือตีพิมพ์

    Integration (I):

    • ข้าพเจ้ามี Research cluster ที่ทำงานวิจัยในโครงการได้รับทุน สวรส ปี 2565 2568 และจะนำประสบการณ์ไปเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อสร้างความร่วมมือในการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทั้งภายในและภายต่างประเทศให้เกิดการทํางานที่สอดประสานกันเป็นแบบเพื่อนช่วยเพื่อนต่อไป

    ข้อเสนอเเนะเพิ่มเติม
    ข้าพเจ้าเสนอว่าหากมีการสนับสนุนเรื่องการารลาไปผลิตผลงานวิชาการในช่วงที่ไม่ติดภาระสอนนิเทศจะช่วยให้มีสมาธิและผลิตบทความได้เพิ่มขึ้นค่ะ

    ตอบลบ